bắn cá long vương download

ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

bắn cá long vương downloadLiên kết đăng nhập

ดร.คริสโตเฟอร์ เฉิน (Dr.Christopher Chen) ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนายา สถาบันมะเร็งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เปิดเผยกับสื่อต่างประเทศโดยระบุตอนหนึ่งว่า ทีมนักวิจัยของเขาได้ร่วมกันวิจัยและพบว่าการตรวจเลือดที่เรียกว่า Cell-free DNA blood-based test หรือ cfDNA test สามารถตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักในผู้ป่วยมะเร็งได้ และมีความแม่นยำถึง 83% เมื่อทดลองกับกลุ่มเป้าหมาย

ดร.เฉิน ย้ำว่า การวิจัยดังกล่าวจะเป็นการเปลี่ยนแปลงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ในรูปแบบใหม่ที่ทำให้ผู้ป่วยรู้ตัวตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อเพิ่มโอกาสในการรักษา เพราะปัจจุบันการตรวจคัดกรองต้องอาศัยการส่องกล้อง ซึ่งผู้ป่วยต้องเตรียมตัวสำหรับการตรวจคัดกรองที่ต้องใช้เวลานาน และการเข้าถึงยังเป็นได้ยากในหลายประเทศทั่วโลก โดยการวิจัยนี้หากมีการนำไปใช้ตรวจคัดกรองจริง ก็จะช่วยให้ผู้คนเข้าถึงการตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักได้ง่ายมากขึ้น

ผลงานวิจัยดังกล่าว ได้รับการยอมรับผ่านการตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการ The New England Journal of Medicine เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยทีมของ ดร.เฉิน ได้ทดลองกับผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก รวมถึงผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการป่วยจำนวน 8,000 คน ในอายุระหว่าง 45-84 ปี ซึ่งทั้งหมดมีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นประจำ

ผลจากการตรวจเลือดแบบ cfDNA test เมื่อเทียบกับวิธีการส่องกล้อง พบว่ามีผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่จำนวน 65 คน ที่พบการป่วยจากการส่องกล้อง ซึ่งเมื่อทดสอบผลเลือดแบบ cfDNA test เพื่อหาค่าของเลือดว่าป่วยเป็นมะเร็งจริงหรือไม่ ผลจากค่าเลือดสามารถระบุได้ว่ามีผู้ป่วยในจำนวนนี้ถึง 54 คน ที่เป็นมะเร็ง ซึ่งคิดเป็นความแม่นยำสูงถึง 83.1% เลยทีเดียว ทีมวิจัยให้ภาพว่า จากผลการวิจัยทำให้สามารถพิสูจน์ได้ว่าการตรวจเลือดแบบ cfDNA test มีความแม่นยำในการตรวจหามะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ในกลุ่มผู้ที่ป่วยอยู่แล้ว หรือมีแนวโน้มและความเสี่ยงสูงที่จะป่วย อย่างไรก็ตาม ทีมนักวิจัยระบุว่าการตรวจเลือดแบบ cfDNA test ไม่สามารถบอกรอยโรค หรือติ่งเนื้อที่สามารถพัฒนาเป็นมะเร็งได้ แต่ทั้งนี้พวกเขาก็เสริมว่า การตรวจเลือดดังกล่าวไม่ใช่การป้องกันโรคมะเร็ง แต่จะช่วยให้การคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักทำได้ง่ายมากยิ่งขึ้น  กระนั้นทีมนักวิจัยก็ยังคงย้ำว่า การตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักด้วยวิธีส่องกล้อง ยังคงเป็นวิธีมาตรฐานและมีความแม่นยำที่สูงถึง 95% ในการตรวจคัดกรอง เพียงแต่ในอนาคตหากมีนวัตกรรมหรือวิธีการตรวจคัดกรองที่สะดวก เฉกเช่นเดียวกับการตรวจเลือดของงานวิจัยชิ้นนี้ ก็น่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้คนทั่วโลก

ด้าน ดร.นพ.เบน ปาร์ค (Dr. Ben Park) ผู้อำนวยการศูนย์มะเร็ง มหาวิทยาลัยแวนเดอร์บิลท์ (Vanderbilt-Ingram, Vanderbilt University) ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับทีมนักวิจัย ได้บอกกับสื่อต่างประเทศว่า งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการทดลองที่ยิ่งใหญ่แม้ว่ามันจะยังไม่สมบูรณ์แบบก็ตาม แต่อย่างน้อยที่สุดก็ทำให้เห็นว่า เราอาจตรวจคัดกรองความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งได้จากการตรวจเลือด เพียงแต่การตรวจเลือดแบบ cfDNA นี้อาจจะยังไม่ทำให้เห็นถึงการกลายพันธุ์

อย่างไรก็ตาม เราอาจเจอสัญญาณของ DNA ที่ยีนบางตัวในร่างกายซึ่งเกิดจากธรรมชาติ และเกิดจากการเลี้ยงดู ไม่ใช่ยีนที่ส่งต่อทางพันธุกรรม ซึ่งเป็นอีกสัญญาณหนึ่งที่จะใช้ในการตรวจหามะเร็งได้ สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันมีผู้ป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่สูงเป็นอันดับ 3 ของโรคมะเร็งทุกชนิด แต่ในส่วนของการคัดกรอง ถือเป็นสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้กับคนไทยทุกคน ที่มีอายุระหว่าง 50-70 ปี สามารถเข้ารับการตรวจคัดกรองด้วยวิธีการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (FIT test) เป็นวิธีการตรวจตามมาตรฐานทางการแพทย์ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย  ทั้งนี้ หากแพทย์ตรวจพบความผิดปกติก็จะพิจารณาทำการตรวจยืนยันด้วยการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ (Colonoscopy) ซึ่งในบางรายอาจจะตรวจชิ้นเนื้อ (Biopsy) ร่วมด้วย

อ้างอิง:

live casino online 888 casino online dragon tiger casino online sport casino online cá cược thể thao châu á